Articles

สร้าง Drawing Template แบบออโต้ใน SOLIDWORKS

ในการทำแบบ 2D ของชิ้นงานใด ๆ นั้น โดยทั่วไปแล้วจะมีขั้นตอนคือ ทำแบบ 3มิติจากนั้นคลิกเซฟชิ้นงาน เรียกไฟล์ Drawing [...]

By |2018-09-25T14:57:09+07:00September 25th, 2018|Articles, SOLIDWORKS 3D CAD|Comments Off on สร้าง Drawing Template แบบออโต้ใน SOLIDWORKS

การไหลผ่านวัสดุรูพรุนด้วย SOLIDWORKS Simulation

บทความนี้อาจจะดูแนววิชาการหน่อยนะครับ แต่เพื่อความเข้าใจของผู้ที่ทำงานด้านสายนี้ที่อาจเล็งเห็นการนำ SOLIDWORKS Simulation ไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งจะทำให้มีความง่ายต่อการออกแบบชิ้นงานมาก การไหลผ่านวัสดุกรองนั้นมีผลิตภัณฑืให้เห็นกันมากมายในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น เครื่องกรองน้ำ เครื่องกรองอากาศ [...]

By |2018-09-18T11:17:14+07:00September 18th, 2018|Articles, Simulation, Uncategorized @th|Comments Off on การไหลผ่านวัสดุรูพรุนด้วย SOLIDWORKS Simulation

Wiring with Basic Module

เมื่อเราเขียนแบบสามมิติในขั้นคอนเซปต์เสร็จแล้ว การเขียนน็อต สกรูเพิ่มเติมลงไปก็เป็นส่วนหนึ่งในการทำแบบอย่างละเอียด แต่สิ่งที่หลาย ๆ คนอาจจะขาดไปที่จะทำให้การเขียนแบบสามมิตินั้นสมบูรณ์มากขึ้นนั่นคือการเขียนพวกสายไฟลงไปในอุปกรณ์ โดยมากเราจะเขียนสายไฟลงไปในแบบแปลนสองมิติเพื่อแสดงว่าสายต่อระหว่างจุดใดแต่แบบแปลนนั้นจะไม่ได้บอกว่าสายไฟนั้นเลื้อยไปตามชิ้นส่วนต่าง ๆ อย่างไร หลาย [...]

By |2018-09-12T11:11:40+07:00September 12th, 2018|Articles, SOLIDWORKS 3D CAD|Comments Off on Wiring with Basic Module

Design Study กับ SOLIDWORKS

Design Study in SOLIDWORKS ในงานออกแบบนั้นไม่ว่าจะเป็นงานทางด้านวิศวกรรม งานด้านวิจัยและพัฒนา งานด้านผลิตภัณฑ์ข้าวของเครื่องใช้ งานด้านการศึกษานั้น ล้วนต้องการทักษะและประสบการณ์ในการประมาณขนาดของชิ้นงานเริ่มต้น การคำนวนเพื่อหาขนาดของชิ้นงานนั้นสามารถช่วยสร้างจุดเริ่มต้นและเป็นทฤษฎีที่ช่วยรองรับชิ้นงานได้แต่จากนั้นจินตนาการจะเป็นตัวต่อยอดชิ้นงานเราไปสู่ความหลากหลายและเติมส่วนที่ต้องการให้สมบูรณ์ขึ้น [...]

By |2018-08-30T15:05:37+07:00August 30th, 2018|Articles, SOLIDWORKS 3D CAD|Comments Off on Design Study กับ SOLIDWORKS

Basic Assembly กับ SOLIDWORKS

Degree of freedom หรือระดับความอิสระของชิ้นงานนั้นมีความสำคัญต่อการประกอบชิ้นงาน ในชิ้นงานชิ้นหนึ่งๆนั้นโดยปกติจะมีจำนวนระดับความอิสระสูงสุดอยู่ที่ 6 กล่าวคือวัตถุนั้นจะสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ทั้งหมด 6 ทิศทาง คือ [...]

By |2018-08-15T13:39:05+07:00August 15th, 2018|Articles, SOLIDWORKS 3D CAD|Comments Off on Basic Assembly กับ SOLIDWORKS

เปลี่ยนหน้าตาของ SOLIDWORKS กันเถอะ

ความดูดีของหน้าตาของโปรแกรมในสไตล์ที่เราชอบก็เป็นจุดหนึ่งที่ทำให้เรามีแรงบันดาลใจในการเขียนแบบ ความเรียบง่าย การดูแล้วรู้สึกว่าเจ๋งนั้นทำให้เรามีความสุขไปกับมันได้ โดยปกติทั่วไปแล้ว SOLIDWORKS นั้นจะมีหน้าตาโปรแกรมดังแสดงในรูป โดยพื้นสีของแถบเครื่องมือหรือโมเดลทรีนั้นจะเป็นแถบสีเทา ส่วนพื้นที่ทำงานนั้นจะเป็น 3 Point [...]

By |2018-08-06T14:45:18+07:00August 6th, 2018|Articles, SOLIDWORKS 3D CAD|Comments Off on เปลี่ยนหน้าตาของ SOLIDWORKS กันเถอะ

วัสดุคอมโพสิทกับ SOLIDWORKS

วัสดุคอมโพสิทนั้นในปัจจุบันได้กลายเป็นวัสดุที่สำคัญและถูกใช้กันแพร่หลายในงานทางวิศวกรรม ในการการวิจัยเรื่อง ความแข็งแรงของวัสดุต่อน้ำหนักที่เบานั้น ถูกใช้ในงานทางด้านการบิน การอวกาศ เรือบก เรือดำน้ำ หุ่นยนต์ อุปกรณ์เทียม เช่นขาเทียม [...]

By |2018-08-01T14:03:00+07:00August 1st, 2018|Articles, Simulation|Comments Off on วัสดุคอมโพสิทกับ SOLIDWORKS

ปัญหา Contact เบื้องต้นสำหรับการเริ่มต้นทำไฟไนต์อิลิเมนต์ SOLIDWORKS Simulation

เฮิรทเซียนคอนแทค (Hertzian Contact) เป็นสิ่งที่ใช้ในการศึกษาการทำ Contact ในงานไฟไนต์อิลิเมนต์ทั่วไป ซึ่งรูปแบบของปัญหานั้นจะเป็นการกดของแท่งทรงกระบอกลงบนแท่งทรงกระบอกอีกอันหรือบนผิววัตถุทรงลูกบาศก์ เฮิรทเซียนคอนแทคนี้ที่มานั้นต้องย้อนกลับไปในปี 1882 หรือ 136ปีที่แล้ว โดยนาย Heinrich Hertz ซึ่งพยายามที่จะศึกษาการเสียรูปของตัวเลนส์ที่วางซ้อนทับกันอยู่ การเสียรูปที่เกิดขึ้นนี้เป็นผลมาจากการเกิด Local Stress หรือความเค้นที่เกิดขึ้นในตำแหน่งที่เลนส์นั้นสัมผัสกัน โดยสามารถที่จะคำนวนค่า Contact Pressure หรือความดันที่เกิดขึ้นบนหน้าสัมผัสของชิ้นงานได้

By |2018-07-19T09:58:08+07:00July 19th, 2018|Articles, Simulation, Uncategorized @th|Comments Off on ปัญหา Contact เบื้องต้นสำหรับการเริ่มต้นทำไฟไนต์อิลิเมนต์ SOLIDWORKS Simulation

“เบอร์ตอง” คว้าชัยเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันฟุตบอล Metro SOLIDWORKS Cup 2018

กระแสฟุตบอลโลก 2018 ที่เพิ่งจบไปเรียกได้ว่าเป็นปีที่ลุ้น เร้าใจ และพลิกเกมได้เสมอ จนในที่สุดทีมชาติฝรั่งเศสก็สามารถคว้าแชมป์ไปครอง ใน Metro SOLIDWORKS Cup [...]

By |2018-07-16T19:18:41+07:00July 16th, 2018|Articles, News|Comments Off on “เบอร์ตอง” คว้าชัยเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันฟุตบอล Metro SOLIDWORKS Cup 2018

การใส่แรงในการทำ Finite Element

การวิเคราะห์ปัญหาทางไฟไนต์อิลิเมนตืนั้นก็เหมือนกับการวาดรูปและระบายสี คนทำเปรียบได้กับจิตรกรผู้สรรสร้างงานออกมา ความสวยงามของสีที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานนั้นสามารถทำให้เราหลงและเข้าใจในผลัพ์ผิดไปได้ซึ่งเป็นเรื่องที่ควรระวังอย่างยิ่ง การทำไฟไนต์อิลิเมนต์สำหรับการวิเคราะห์ความแข้งแรงของดครงสร้างนั้นมีด้วยกันเพียง 5 ขั้นตอนคือการเครียมสร้างทำเมสให้ชิ้นงาน การใส่วัสดุลงในชิ้นงาน การกำหนดเงื่อนไขจุดยึด การกำหนดแรงที่กระทำและสุดท้ายคือการคำนวน ในทุกๆกระบวนการล้วนทำให้เกิดผลลัพืที่แตกต่างกันเมื่อเราใส่ค่าไม่เหมือนกัน [...]

By |2018-07-10T16:14:56+07:00July 10th, 2018|Articles|Comments Off on การใส่แรงในการทำ Finite Element
Go to Top