6 วิธีในการลดต้นทุนการผลิตด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ

6 วิธีในการลดต้นทุนการผลิตด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ

6 วิธีในการลดต้นทุนการผลิตด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ Ultimaker มาแล้วจ้า! ตามสัญญา กับ 6 วิธีในการลดต้นทุนการผลิตด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ในครั้งนี้เราจะมาแชร์กันว่า การมีเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ติดไว้สักเครื่องที่โรงงาน นอกจากจะช่วยให้อุ่นใจคลายเหงา ยามไม่มีอะไรจะทำ แค่เปิดเครื่องให้น้อง Run ไป ได้ยินเสียงน้องร้องก็อุ่นใจแล้ว  นอกจากนี้ยังสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตไปได้อย่างไรบ้าง!?   1.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยการสร้างต้นแบบอย่างเร็ว หรือ Rapid Prototyping  สำหรับการสร้างชิ้นงานต้นแบบสามารถช่วยให้บริษัทต่าง ๆ ลดต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อย่างมาก เนื่องจากการพิมพ์ 3 มิติ สามารถพิมพ์ผลิตภัณฑ์ซ้ำได้หลายครั้งและรวดเร็วจนกว่าจะได้ผลิตภัณฑ์ที่สมบูรณ์ โดยมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าวิธีการผลิตแบบเดิมมากเนื่องจากข้อบกพร่องหรือจุดที่ผิดพลาดของผลิตภัณฑ์สามารถแก้ไขและปรับปรุงได้ตั้งแต่ช่วงต้นของขั้นตอนการออกแบบ ซึ่งจะช่วยลดโอกาสการเจอข้อผิดพลาดในตอนท้ายก่อนที่จะ Final ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ๆ 2. ลดต้นทุนวัสดุ การลดต้นทุนวัตถุดิบเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ควรพิจารณาการพิมพ์ 3 มิติให้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการผลิต เนื่องจากวัตถุดิบในการพิมพ์ 3 มิติจะถูกเพิ่มทีละชั้นและใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น กระบวนการพิมพ์ 3 มิตินี้จึงช่วยลดการสูญเสียวัสดุได้อย่างมาก การพิมพ์ 3 มิติไม่เหมือนกับวิธีการผลิตแบบเดิม…

3D Printing Trend for 2022

LIVE สด : หัวข้อ 3D Printing Trend for 2022

LIVE สด : หัวข้อ 3D Printing Trend for 2022 . แนวโน้ม อนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์ 3 มิติ โดยรวบรวมความท้าทาย และโอกาสที่จะกำหนดวิวัฒนาการของการพิมพ์ 3 มิติ ในปี 2565 และในปีต่อๆ ไป . ในวันพฤหัสบดีที่ 7 ก.ค. 65 เวลา 20.00-21.00 น. ผ่านช่องทาง FB และ Youtube

สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ 3 มิติ Ultimaker S-Line พร้อมโปรโมชั่นสุดพิเศษ!

Ultimaker 3D Printing Bundles  สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ 3 มิติ Ultimaker S-Line พร้อมโปรโมชั่นสุดพิเศษ!  รับหัวพิมพ์คู่ รองรับการพิมพ์ด้วย 2 วัสดุ ส่วนลดซื้อ Print Core ทุกประเภท 20% ส่วนลดเส้นพลาสติกทุกชนิด 50% Onsite Service  4 ครั้ง/ปี คอร์สอบรมการใช้งานเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เครื่องพิมพ์ 3 มิติ Ultimaker + Material เซตสุดคุ้ม เหมาะกับสถานศึกษา องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยที่ตัวเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ครอบคลุมการใช้งานในแขนงต่างๆ ทั้งด้านวิศวะกรรม สถาปัตย์กรรม การแพทย์ ทันตกรรม การออกแบบ งานด้านชิ้นส่วนยานยนต์ ศิลปกรรม หรือสถาบันการศึกษา ครอบคลุมไปถึงกระบวนการผลิต การออกแบบ และการสร้างชิ้นงาน โปรโมชั่น…

อัลทิเมกเกอร์ เปิดตัวซอฟต์แวร์ “Ultimaker Cura 5.0” บรรลุความสำเร็จครั้งใหม่ในการพิมพ์ 3 มิติ

ยูเทรกต์, เนเธอร์แลนด์, 21 เมษายน 2565 /PRNewswire/ — อัลทิเมกเกอร์ (Ultimaker) ผู้นำระดับโลกที่เชี่ยวชาญด้านการพิมพ์ 3 มิติระดับมืออาชีพได้เปิดตัวซอฟต์แวร์ Ultimaker Cura 5.0 เวอร์ชันเบต้า ซึ่งเป็นเวอร์ชันล่าสุดของซอฟต์แวร์สำหรับแบ่งชั้นวัตถุ (Slicing Software) ที่เปิดให้ใช้งานฟรีในระหว่างงานจัดแสดงสินค้าประจำฤดูใบไม้ผลิ (Spring Showcase) ของบริษัท โดยโปรแกรมแบ่งชั้นวัตถุที่ได้รับการปรับปรุงนี้สามารถนำไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ทั้งงานออกแบบ สถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการพิมพ์ 3 มิติสำหรับวัสดุโลหะ ทำให้งานพิมพ์ 3 มิติออกมาละเอียดขึ้นและรวดเร็วขึ้นโปรแกรมเวอร์ชันล่าสุดมาพร้อมความกว้างของเส้นแบบผันแปร (Variable Line Width) ส่งผลให้สามารถพิมพ์ผนัง (Wall) ที่มีความบางและพิมพ์รายละเอียดได้ดี นอกจากนี้ ชิ้นงานที่พิมพ์ด้วยโปรแกรมนี้จะแข็งแรงขึ้นด้วย ส่วนคุณสมบัติเด่นอื่น ๆ ประกอบด้วยการเลือกโปรไฟล์การพิมพ์ (Print Profiles) ได้เร็วขึ้นสำหรับผู้ใช้เครื่องพิมพ์ของอัลทิเมกเกอร์ การรองรับชิป Apple M1 และอีกมากมาย “Ultimaker Cura 5.0 คือก้าวกระโดดครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในด้านคุณภาพการพิมพ์ของซอฟต์แวร์ตัวนี้ และเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติเทคโนโลยีการพิมพ์ 3…

เปลี่ยนโลกสถาปัตยกรรมด้วย 3D PRINTER

เปลี่ยนโลกสถาปัตยกรรมด้วย 3D PRINTER สถาปัตยกรรม หรือ Architecture คืองานออกแบบสิ่งก่อสร้างหรือวัตถุต่าง ๆ ที่เราสามารถเห็นได้รอบตัว โดยผ่านกระบวนการคิด วางแผน ออกแบบ และลงมือทำอย่างมีระบบ สถาปัตยกรรมมีอยู่ด้วยกันหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็น – สถาปัตยกรรม (Architectural Design) – การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design) – ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) – ตกแต่งภายใน (Interior Design) – การวางแผนภูมิภาคและผังเมือง (Urban Architecture) หัวใจหลักของงานสถาปัตยกรรม นอกจากจะต้องมีดีไซน์ที่สวยงามแล้ว ผู้ออกแบบยังต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย โครงสร้าง และความเป็นมิตรต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโดยทั่วไปนั้นมีขั้นตอนการออกแบบที่เริ่มตั้งแต่แบบร่าง ไปจนถึงการดูแลงานก่อสร้าง โดยที่ในระหว่างนั้นมีอีกหนึ่งขั้นตอนที่ยากและใช้เวลาค่อนข้างสูง นั่นก็คือขั้นตอน “Design Development” หรือที่เรียกกันว่า DD เป็นขั้นตอนที่นำแบบร่างมาพัฒนา หรือขึ้นรูปเป็น 3D (สามมิติ) เพื่อให้เห็นภาพ และสื่อสารให้คนเข้าใจ ความท้าทายที่เกิดขึ้นในขั้นตอน…