OEE คืออะไร

OEE คืออะไร? บอกอะไรเราได้บ้าง? และทำไมทุกโรงงานต้องคำนวณ?

OEE ย่อมาจาก Overall Equipment Efficiency คือ ตัวบอกความสามารถ วิธีการทำงานของเครื่องจักร หรือเป็นการคำนวณประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรนั่นเอง โดยสูตรคำนวณ OEE คือ อัตราเดินเครื่อง (Availability) x ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง (Performance Efficiency) x อัตราคุณภาพ (Efficiency Rate) ซึ่งการจะคำนวณหา OEE ได้นั้น เราจำเป็นจะต้องเข้าใจและคำนวณตัวแปรสามตัวข้างต้นนั้นให้ได้เสียก่อน ได้แก่ อัตราการเดินเครื่อง (Availability) คือ ความพร้อมในการทำงานของเครื่องจักรหรือคน เทียบจากระยะเวลาการเดินเครื่อง (เวลารับภาระงาน หักด้วย เวลาที่เครื่องจักรหยุด) กับเวลารับภาระงาน หรือมีสูตรคำนวณดังนี้   ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง หรือ อัตราสมรรถนะ (Performance Efficiency) คือ อัตราที่แสดงสมรรถนะของเครื่องจักรเทียบระหว่างเวลาเดินเครื่องสุทธิกับเวลาเดินเครื่อง สูตรคำนวณดังนี้   อัตราคุณภาพ (Quality Rate) คือ อัตราการผลิตของดี โดยการนำจำนวนที่ผลิตได้ทั้งหมด มาหักของเสีย แล้วหารด้วยจำนวนที่ผลิตออกมาทั้งหมด…

Covid19-Iot-4

Covid-19 กับ Internet of Things

เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ผู้เขียนได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ Internet of Things หรือ IoT กับการทำธุรกิจ ในบทความนี้ Internet of Things กับการทำธุรกิจในยุคดิจิตอล และเมื่อเข้าสู่ปี 2020 ภายในครึ่งปีแรก เราก็เจอกับวิกฤตการณ์ Covid-19 ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานและทำธุรกิจอย่างมาก เช่น การ Lock Down ประเทศ, Social Distancing และ Work From Home ผู้เขียนมองว่าในช่วงเวลานี้ Internet of Things น่าจะมีบทบาทสำคัญที่จะช่วยให้การทำงานในช่วง Covid-19 มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Internet of Things คืออะไร? Concept ง่าย ๆ ของ Internet of Things เลยก็คือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกับทุกสิ่งที่เราต้องการ ที่ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ทโฟนเท่านั้น แต่เชื่อมกับนาฬิกา เครื่องซักผ้า ไม้แบดฯ ปลอกคอสุนัข…

ส่งข้อมูล IoT ด้วยคลื่นความถี่ 900Mhz

ส่งข้อมูล IoT ด้วยคลื่นความถี่ 900Mhz   ในโลกปัจจุบันปี 2020 มีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราเป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็นการทำงานด้วยการรับหรือส่งเอกสารต่าง ๆ ผ่านทาง Email , การเรียนการสอนลักษณะ Online course ที่ทำให้ทุกคนสามารถเรียนรู้ทุกอย่างได้จากที่บ้าน , การซื้อสิ่งของเครื่องใช้และสินค้าอุปโภคบริโภคผ่านทาง Application ต่าง ๆ พร้อมสามารถยืนรับสินค้าได้ที่ทางประตูหน้าบ้านท่าน และไม่ว่าจะเป็นการอำนวยความสะดวกอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งในการทำสิ่งต่าง ๆ ข้างต้นนั้นจำเป็นต้องใช้ Internet ในการส่งผ่านข้อมูล ทำให้ในทุก ๆ วันนี้มีความต้องการในการเชื่อมต่อข้อมูลในแต่ละนาทีเป็นจำนวนมาก และการมาถึงของเทคโนโลยี Internet of things หรือ IoT ที่จะทำการเชื่อมต่อข้อมูลของอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ากับระบบ Internet ทำให้เพิ่มปริมาณการเชื่อมต่อข้อมูลไปอีกหลายเท่าตัว ดังนั้นในวันนี้เราจะพูดถึงช่องทางการเชื่อมต่อข้อมูลของระบบ IoT ในส่วนของการใช้คลื่นความถี่วิทยุ 900Mhz เพื่อที่จะเพิ่มช่องทางการเชื่อมต่อข้อมูลไม่ให้เกิดความล่าช้าในการรับส่งข้อมูล คลื่นความถี่ 900Mhz ก่อนที่จะลงลึกถึงรายละเอียดต่าง ๆ…

Freewave Intelligent Edge

Freewave Intelligent Edge การทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่ปฏิเสธไม่ได้ที่จะต้องมีระบบความคุมการทำงานต่าง ๆ ในโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นการความคุมเครื่องจักรในการผลิต การควบคุมและบริหารการใช้งานทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงงาน การควบคุมการจัดส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้า และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งระบบทั้งหมดนั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องมีส่วนประกอบหลาย ส่วนเข้าด้วยกัน แต่ตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้งานกับระบบที่ใช้ในการควบคุมและประมวลผล และระบบที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ระบบรับส่งข้อมูล ซึ่งหากไม่มีระบบที่ดีอาจจะให้มีการรับรู้ข้อมูลที่ล่าช้าไม่ทันต่อการทำงานของระบบอื่นๆ สำหรับในวันนี้ทางเราจะแนะนำอุปกรณ์ที่ช่วยในการรับส่งข้อมูลทั้งภายในโรงงานและภายนอกโรงงานที่ถูกออกแบบขึ้นมาโดยเฉพาะสำหรับการใช้งานอย่างสมบุกสมบัน นั้นก็คืออุปกรณ์รับส่งข้อมูลผ่านคลื่นความถี่วิทยุ 900Mhz ยี่ห้อ Freewave Freewave Technologies เป็นบริษัทที่ตั้งอยู่ในรัฐ Colorado เป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของการผลิตอุปกรณ์รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องจักรและเครื่องจักร ผ่านทางอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเพื่อดึงข้อมูลจาก Sensor เครื่องจักร หุ่นยนต์ และอื่น ๆ ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ไกลถึง 60 Miles หรือกว่า 100 Km ( โดยปราศจากสิ่งกีดขวาง ) และยังสามารถรองรับ Application ที่หลากหลายในภาคอุตสาหกรรมได้อย่างครอบคลุม Freewave ZumLink 900 Series เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อข้อมูลจากเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ต่าง…